ความหลากหลายทางชีวภาพ สู่แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย

ความหลากหลายทางชีวภาพ สู่แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย

กวา 10 ปที่ผานมานี้คําวา “ความหลากหลายทางชีวภาพ” (Biodiversity) ไดถูกกลาวถึงในแวดวงวิชาการกวางขวางขึ้น โดยสวนใหญใหความสําคัญไปที่ระบบนิเวศปาไม อันเปนที่ยอมรับวาเปนระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด แตอยางไรก็ดีในชวงที่ผานมายังไมมีการรวบรวมสถานการณในภาพรวมของระบบนิเวศปาไมใหชัดเจนวามีขอมูลการเปลี่ยนแปลงในชวง 50 ปที่ผานมาจนถึงปจจุบันเปนอยางไร

องคกรสมาชิก IUCN ประเทศไทย จึงรวมกันริเริ่มโครงการบูรณาการคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพสูแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยนี้ โดยไดรับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดลอม บริษัท มิตซุย จํากัด (มหาชน) โดยใหความสําคัญตอระบบนิเวศหลัก อันประกอบดวย ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝง ระบบนิเวศน้ำจืด ระบบนิเวศปาไมระบบนิเวศเกษตร และระบบนิเวศเมือง

มูลนิธิสืบนาคะเสถียร ไดมีสวนรวมกับองคกรสมาชิก IUCN ประเทศไทย รวมดําเนินโครงการบูรณาการคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพสูแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย (Integrating Biodiversity Values into National Resource Management Practices in Thailand) และไดรับมอบหมายใหรวบรวมขอมูลรวมถึงประเมินสถานการณในภาพรวมเพื่อนําไปสูการวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติในระดับตางๆ ตอไป

รายงานการศึกษาฉบับนี้ ไดรวบรวมผลการศึกษาออกเปน แนวคิดและการดําเนินงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพและการจัดการระบบนิเวศปาไมของประเทศไทย สถานการณความเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ปาไมในรอบ 50 ป สถานการณความเปลี่ยนแปลงชนิดของปาไมสถานการณการประกาศพื้นที่อนุรักษปาไมสถานการณความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณพืชและพันธุสัตวปา การวิเคราะหและประเมินสถานการณความหลากหลายทาง
ชีวภาพประเทศไทย

คณะผูศึกษา หวังวารายงานผลการดําเนินงานฉบับนี้จะเปนประโยชนทั้งในแงการบันทึกขอมูลใหมีความชัดแจง และขอเสนอที่จะเปนประโยชนตอการบริหารจัดการในระดับตางๆ รวมทั้งสามารถนําไปขยายผลและเรียนรูใหกวางขวางมากขึ้น

 


ผู้สนใจสามารถอ่านรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการบูรณาการคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพสู่แนวทางการจัดการทรัพยากรในประเทศไทย ในรูปแบบ E-Book ได้ที่นี่